บทความ

ขั้นตอนการทำหม้อแปลง

รูปภาพ
ขั้นตอนการทำหม้อแปลง ขั้นตอนการพันหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก 1. คำนวณหาจำนวนรอบของหม้อแปลงไฟฟ้า 2. พันขดลวดด้าน  Primary  ให้เรียงกันในลักษณะการกรอด้าย โดยให้ขดลวดเรียงกันอย่างสม่ำเสมอดังรูป              3.  เมื่อพันขดลวดได้จำนวนรอบที่ทำการออกแบบไว้ในระดับแรงดันต่างๆ ให้  tap ขดลวดตามระดับแรงดันนั้นดังแสดงในรูป 4. เมื่อทำการพันหม้อแปลงด้าน  Primary  เสร็จเรียบร้อยแล้ว ให้นำไมลาร์ที่ตัดไว้มาพันรอบแกนบ็อบบินทับขดลวดด้าน   Primary  เพื่อแยกขดลวด  Primary  และ  Secondary  ออกจากกัน 5. พันขดลวดด้าน Secondary โดยเริ่มพัน  จากด้านตรงข้ามกับด้าน Primary  พันให้เส้นเรียงชิดกันจนครบจำนวนรอบดังรูป 6. หลังจากที่พันขดลวดครบจำนวนรอบที่ออกแบบไว้เรียบร้อยแล้วก็นำไมลาร์มาพันรอบขดลวดเหมือนเดิมกับด้าน Primary 7. ใส่แกนเหล็กประกอบเข้ากับบ็อบบิน โดยใส่สลับ ตัว E ต้ว I จนรู้สึกว่ามันเริ่มที่จะแน่นให้หยุด 8.  หลังจากใส่แกนเหล็กและประกอบส่วนต่างๆ เรียบร้อยแล้วก็นำหม้อแปลงไปอบวานิชเพื่อป้องกันนสนิมและปิดช่องว่างระหว่างแกนเหล็กดังรูป 9. เมื่อทำการอบวานิชเป็น

เทคนิคและการออกแบบ Switching Power Supply

รูปภาพ
เทคนิคและการออกแบบ Switching Power Supply วงจรทดลองเพื่อศึกษาการทำงานของฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ บทความตอนนี้เราจะเริ่มทดสอบผลการออกแบบฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์กับวงจรจริงกันแล้วครับ โดยจะนำค่าต่างๆ ที่ได้คำนวณและจำลองการทำงานของฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ใน LTspice IV  (เข้าไปดูได้ใน  วิเคราะห์การออกแบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลายด้วยโปรแกรม LTSPICE IV ตอนที่ 3 ) มาทดสอบ ซึ่งเมื่อกำหนดค่าแล้วจะได้วงจรที่จะใช้ทดสอบตามนี้ วงจรที่จะนำมาทดอลงเพื่อดูการทำงานจริงของฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ เพาเวอร์มอสเฟตในวงจรไม่จำเป็นต้องเป็นเบอร์นี้ แต่ขอให้ทนแรงดันได้ 60V กระแส 1A ขึ้นไป  สำหรับวงจร PWM ผมใช้ TL494 มาปรับเป็นแหล่งกำเนิด PWM ตามที่เคยลงไว้ในบทความตอน  PWM สำหรับทดสอบคอนเวอร์เตอร์    ในที่นี้เราจะใช้กับฟลายแบคคอนเวอร์เตอร์ ดังนั้นจึงใช้ โหมด Single-ended คือ Output1 และ Output2 ทำงานพร้อมกัน ซึ่งทำได้โดยปล่อยขา 13 ให้ลอยไว้ ส่วน output นั้นเลือก Output ไหนมาใช้ก็ได้ครับ  วงจร PWM ที่จะนำมาใช้ควบคุมการทำงานของวงจร สำหรับวงจรนี้สัญญานจาก output1 หรือ output2 ของ TL494 ก่อนต่อเข้าขา G ของเ

การคำนวณหาเบอร์ขดลวดที่จะพันหม้อแปลงไฟฟ้าขนาดเล็ก

รูปภาพ
  ตารางลวด  เทียบเบอร์ลวดจาก SWG เป็น AWG เทียบได้จากเส้นผ่าศุนย์กลางของลวดทองแดงครับ โดยใช้ค่าที่ใกล้เคียง   EX สูตรที่ลุงหมอเหลียวให้มานั้นใช้ลวดทางSWG ใช้ใหมครับ แล้วเทียบเบอร์ลวด AWG ยังไงครับ  AWG ไม่ทราบจริง ๆ  ท่านอื่นช่วยแนะนำด้วยครับ   ใช่ครับ ใช้SWG   คิดตามสูตร  VA x  500 / V = พื้นที่หน้าตัด หน่วยเป็น เซอร์คูล่ามิล *500คือค่าคงที่ เทียบเบอร์ลวดจาก SWG เป็น AWG เทียบได้จากเส้นผ่าศุนย์กลางของลวดทองแดงครับ โดยใช้ค่าที่ใกล้เคียง **** เช่น SWG ลวดเบอร์ 10 ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 3.24 มิมลิเมตร นำค่า 3.24 มาเทียบ ในตารางAWG จะได้เท่ากับเบอร์ 8 คือ 3.26 มิลลิเมตรครับ ผิดถูกประการใดก็ช่วยชี้แนะด้วยนะครับ ไม่ได้ร่ำเรียนมากะเขาหรอก อิอิ....... เริ่มต้นด้วย   วิธีการหาค่าหม้อแปลง  ค่าของหม้อแปลง มีหน่วนเป็น VA   หาได้จากขนาดของ บ๊อบบิ้น   คือ   สูตร       VA = {(AxB)x5.58}ยกกำลัง2 ***AxB ต้องหน่วยเป็น ตารางนิ้ว*** ก่อนอื่นต้อง แปลง A กับ B เป็นนิ้วโดยหารด้วย  25.4 เผื่อแปลงเป็น นิ้ว บ๊อบบิ้น ที่ใช้กับเครื่องขยายบ้านเราแบบมาตรฐาน มีมากมาย